'โปรตีนทางเลือก' อาหารแปรรูปที่มีแนวโน้มเติบโตในอาเซียน
แม้ว่าตลาดโปรตีนทางเลือกจะเติบโตอย่างรวดเร็ว แต่ยังคงมีความท้าทายในการเปลี่ยนทัศนคติของผู้บริโภคที่ยังติดอยู่กับการบริโภคโปรตีนจากสัตว์แบบดั้งเดิม การทำให้โปรตีนทางเลือกมีรสชาติ ลักษณะ และคุณค่าทางโภชนาการใกล้เคียงกับโปรตีนจากสัตว์เป็นสิ่งที่สำคัญในการดึงดูดผู้บริโภค
เครื่องจักรทำอาหารเพิ่มกำไรและสร้างแบรนด์ได้ ใช่หรือเปล่า ?
เกี่ยวกับเรา ตราสินค้า ข่าวสารและบทความ ติดต่อเรา
ปัจจัยผลักดันโปรตีนทางเลือกให้เป็นที่นิยมมากขึ้น
ถึงอย่างนั้น หากต้องการได้ประโยชน์สูงสุดจากโปรตีนจากพืช แนะนำให้กินแบบที่ผ่านกระบวนการผลิตน้อยที่สุดจะดีกว่า เช่น ธัญพืชที่ไม่ผ่านการขัดสี (ข้าวกล้อง ลูกเดือย) เน้นการกินพืชมีหัว (มันเทศ มันฝรั่ง เผือก) ผักสามารถกินได้ทุกชนิด แต่ควรเลือกให้หลากหลาย เพื่อให้ได้ทั้งวิตามินและแร่ธาตุ ส่วนผลไม้หลีกเลี่ยงที่มีรสชาติหวานหรือมีน้ำตาลสูง แต่โปรตีนจากพืชที่ผ่านกระบวนการผลิตให้เหมือนเนื้อสัตว์ก็ไม่ได้แย่ เพราะทำให้ง่ายต่อการกินสำหรับคนที่ไม่ค่อยชอบกินพืชผัก เพียงแต่ประโยชน์อาจจะถูกลดทอนหรือมีสารปรุงแต่งเข้ามาเพิ่มเติม
โปรตีนทางเลือก คือโปรตีนที่ผลิตจากสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ปศุสัตว์ เช่น พืช แมลง และอื่น ๆ กำลังเป็นเทรนด์ที่ได้รับความนิยมมากขึ้นในโลกตะวันตก และมีความเป็นไปได้ว่า ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียนนี้ ก็อาจจะมีแนวโน้มเช่นเดียวกัน
ปัจจุบันหลายประเทศในอาเซียนมีการผลิตอาหารแปรรูปอยู่แล้วเป็นจำนวนมาก และหากมีการลงทุนในอุตสาหกรรมนี้ก็จะมีโอกาสที่จะสร้างตำแหน่งงานและดึงดูดบุคลากรที่มีทักษะให้เข้ามาในอุตสาหกรรมมากขึ้นควบคู่ไปกับผลประโยชน์เชิงพาณิชย์อื่น ๆ
ทำไมเทรนด์โปรตีนทางเลือกถึงมา? รวมข้อดี ข้อเสียและผู้นำในอุตสาหกรรม
โปรตีนทางเลือก มีแหล่งที่มาของการสร้างโปรตีนทดแทนจากอะไรบ้าง
ความกังวลด้านสิ่งแวดล้อมและจริยธรรม
ของว่างที่ไม่ใช่แท่ง เช่น ธัญพืชผสมผลไม้แห้ง เนื้ออบแห้ง โยเกิร์ต โปรตีนทางเลือก ถั่วเหลืองอ่อน ขนมขบเคี้ยวกรุบกรอบที่ทำมาจากธัญพืช อาทิ ถั่วชิกพี ถั่วเลนทิลหรือแป้งข้าวกล้อง เนยถั่วแบบพกพา และสมูทตี้ เป็นต้น
ในปัจจุบัน มีแหล่งอาหารที่สามารถสร้างโปรตีนทดแทนได้จากหลายแหล่ง เช่น
บริษัทชั้นนำในอุตสาหกรรมโปรตีนทางเลือก
การผลิตโปรตีนทางเลือกใช้น้ำน้อยกว่าการผลิตโปรตีนจากสัตว์มากและมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อยกว่า การเลี้ยงสัตว์เช่นการผลิตเนื้อวัวนั้นถือเป็นการใช้ทรัพยากรที่สูงมากเมื่อเทียบกับการผลิตเนื้อสัตว์จากพืชหรือจากห้องปฏิบัติการ